ระบบสุริยะ
1.การกำเนิดระบบสุริยะ
1.1แก๊สและฝุ่นที่มีการเคลื่อนที่รวมกันตรงใจกลางจะมีความหนาแน่นมากขึ้น
สามารถดูดแก๊สในอวกาศที่เคลื่อนเข้ามาใกล้มารวมกันเมื่อกลุ่มแก๊สมีมวลมากขึ้นจะเริ่มหดตัวด้วยแรงโน่มถ่วง
1.2เมื่อกลุ่มแก๊สยุบทำให้ความดันเพิ่ม
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 15 ล้านเคลวินเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชัน โดยHรวมกับHeได้พลังงาน
กลายเป็นพลังงานของดาวฤกษ์ดวงใหม่ซึ่งคือดวงอาทิตย์
1.3ฝุ่นและแก๊สที่เหลือรอบนอกเคลื่อนที่หมุนวนเรอบดวงอาทิตย์
1.4บริเวณใกล้ดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิสูง
จังมีสสารส่วนน้อยที่สามารถรวมตัวจนเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน 4 ดวง ส่วนในบริเวณที่ไกลออกไปอุณหภูมิต่ำ
มีสสารมากจึงรวมได้ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่อยู่รอบนอก 4 ดวง
หรือเรียกอีกอย่างได้ว่าดาวเคราะห์ยักษ์
1.5ของแข็งที่เหลือ
ยังคงโคจรรอบดวงอาทิตย์และกลายเป็นแถบดาวเคราะห์น้อย
1.6สสารที่กระจายตัวอยู่รอบนอกกลายเป็นแหล่งกำเนิดของดาวหาง
2.เขตของบริวารดวงอาทิตย์
แบ่งออกได้ 4 เขต
1.ดาวเคราะห์ชั้นใน
-ได้แก่ ดาวพุธ
ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร
-มีแก่นเป็นโลหะจึงเรียกว่า
ดาวเคราะห์หิน
2.แถบดาวเคราะห์น้อย
-อยู่บริเวณระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี
3.ดาวเคราะห์ชั้นนอก
หรือดาวเคราะห์ยักษ์
-ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน
-มีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียม
จึงเรียกว่า ดาวเคราะห์แก๊ส
4.เขตนอก
4.1ดงดาวหางของออร์ต
-เป็นบริเวณที่อยู่ของดาวหาง
-เป็นวัตุที่ไม่มีแสงสว่าง
-ระยะห่างประมาณ 10000-100000หน่วยดาราศาสตร์
-ประกอบด้วยฝุ่นผง
เศษหิน ก้อนน้ำแข็งและแก๊สแข็งตัว จึงเรียกว่า ก้อนน้ำแข็งสกปรก
4.2สะเก็ดดาว
-เป็นวัตถุขนาดเล็กในอวกาศ
ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
-เมื่อเข้าใกล้โลกจะถูกแรงดึงดูดของโลกให้ตกเข้าสู่ผิวโลห
-เมื่อเกิดการเสียดสีกับชั้นบรรยากาศของโลก
จะลุกไหม้เป็นแสงสว่างพุ่งลงมาจากท้องฟ้า เรียกว่า ดาวตกหรือผีพุ่งไต้
ดาวตก
-ถ้ามีขนาดเล็กจะเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ
ถ้ามีขนาดใหญ่เผาไหม้ไม่หมดจะเหลือชิ้นส่วนตกลงมาสู่ผิวโลก เรียก อุกาบาต
อุกาบาต
4.3วัตถุในแถบคอยเปอร์
-อยู่บริเวณตั้งแต่วงโคจรของดาวเนปจูนออกไป
ได้แก่ ดาวพลูโต และดาวอีริส เป็นดาวเคราะห์แคระที่อยู่ไกล
มีสมบัติคล้ายดาวเคราะห์น้อย
ระบบสุริยะ
•ดวงอาทิตย์
-ลักษณะสำคัญ
-เป็นดาวฤกษ์สีเหลือง
ชนิดสเปกตรัม G อุณหภูมิพื้นผิวประมาณ
6000K
-เป็นผู้ให้พลังชีวิตแก่โลก
-สิ่งที่ได้จากดวงอาทิตย์
ได้แก่ พลังงาน อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน ซึ่งเรียกว่าลมสุริยะ
-ลมสุริยะที่มายังโลกจะถูกแรงแม่เหล็กจากสนามแม่เหล็กกระทำส่งผลให้เกิดแสงเหนือแสงใต้
ไฟฟ้าดับที่ประเทศขั้วโลก รวมถึงการสื่อสารขัดข้อง
-โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์มี
3 ส่วน 1.แก่น 2.เขตแผ่รังสี 3.เขตพาความร้อน
-ชั้นบรรยากาศที่ห่อหุ้มดวงอาทิตย์
3 ชั้น 1.ชั้นโฟโตสเฟียร์ 5800เคลวิน 2.ชั้นโครโมสเฟียร์ 25000เคลวิน 3.ชั้นคอโรนา 2000000เคลวิน
-พายุสุริยะ
มักเกิดจากจุดมืดบนดวงอาทิตย์ มีความรุนแรงมากกว่าลมสุริยะ ใช้เวลาเดินทางมาถึงโลก20-40ชม.
-จุดมืดบนดวงอาทิตย์มักเกิดทุกๆ
11 ปี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น